แผนภูมิการสร้างสรรค์บทภาพยนตร์ - แผนภูมิการสร้างสรรค์บทภาพยนตร์ นิยาย แผนภูมิการสร้างสรรค์บทภาพยนตร์ : Dek-D.com - Writer

    แผนภูมิการสร้างสรรค์บทภาพยนตร์

    ผู้เข้าชมรวม

    2,088

    ผู้เข้าชมเดือนนี้

    3

    ผู้เข้าชมรวม


    2.08K

    ความคิดเห็น


    1

    คนติดตาม


    0
    หมวด :  รักอื่น ๆ
    เรื่องสั้น
    อัปเดตล่าสุด :  24 ก.ค. 51 / 21:00 น.


    ข้อมูลเบื้องต้น
    ตั้งค่าการอ่าน

    ค่าเริ่มต้น

    • เลื่อนอัตโนมัติ
      n      แนวคิดหลักของเรื่องConcept or Idea)                                                 นวนิยายหรือบทละคร 
      n      (Novel or Theatrical work)
      n                                                                                                                                                                                                                                                                                  เรื่องย่อ (Symopsis or Reduction)
      n                      โครงเรื่อง (Outline)
      n                                                                    
      n                              โครงเรื่องขยาย (Film Treatment)
      n                     
      n     
                      บทแสดง(Screenplay or Master Scne Script)
      n                  บทถ่ายทำ(Shooting Script)
      n                     
      n      ลำดับภาพร่าง(Storybording or Continuity Sketching)            
      แบ่งภาพยนตร์ตามวัตถุประสงค์ของการผลิตเป็น 3 กลุ่ม
      n      1.ภาพยนตร์ที่ให้ข้อเท็จจริง ประกอบด้วย ภาพยนตร์ข่าวสาร ที่มักจะเป็นองค์กรใดองค์กรหนึ่ง ที่ติดตามการเคลื่อนไหว ไม่มีเรื่องของความคิดเข้ามาเกี่ยวข้องเป็นเรื่องข้อเท็จจริงทั้งหมด
      n      2.ภาพยนตร์ศิลปะ หรือภาพยนตร์ทดลอง เป็นภาพยนตร์ที่นักสร้างใหม่ๆ ศิลปินหรือนักศึกษาภาพยนตร์ คิดสร้างเพื่อทดลองความคิด ทฤษฎี และวิธีการใหม่ๆ ซึ่งไม่ผลทางการค้าเข้ามาเกี่ยวข้อง
      3.ภาพยนตร์ที่ใช้โน้มน้าวใจ แยกออกเป็น 3 ประเภท   คือ
      n      3.1.ภาพยนตร์บันเทิงได้แก่ ไททานิค
      n      3.2.ภาพยนตร์โฆษณา ซึ่งจะเกือบจะเป็นการชวนเชื่อ เช่น โฆษณาบ้านบางระจัน
      n      3.3.ภาพยนตร์สารคดี แบ่งออกเป็นหลายประเภทตามลักษณะการนำเสนอเรื่องราว และเนื้อหาได้แก              -ภาพยนตร์สารคดีในเชิงข่าว จะทำให้คนดูรู้สึกช็อค              -ภาพยนตร์สารคดีที่มีลักษณะสืบสวน เช่น แอบดูเป็นแอบดูตาย
       -ภาพยนตร์สารคดีเชิงโรแมนติก   นำเสนอเรื่องราวที่สวยงาม มีภาพเป็นส่วนมากไม่ค่อยมีคำบรรยาย เป็นต้น
      ภาพยนตร์สารคดี     หมายถึง   เรื่องราวความเป็นจริงที่ผู้สร้างภาพยนตร์ถ่ายทอดตามทัศนะหรือมุมมองของตัวเอง เพื่อให้ผู้ชมเกิดการคล้อยตาม
      การเขียนบทภาพยนตร์ มีลักษณะดังนี้คือ
      1.แบบไม่มีบทที่เป็นเอกสาร (NON-SCRIPT) คือไม่มีการเขียนบทล่วงหน้า แต่มีการเตรียมการล่วงหน้า เช่น ภาพยนตร์ข่าว หรือ การถ่ายวีดิทัศน์การอบรมสัมมนา
      2 TREAMENT OUTLINE จะต้องมีแนวคิดหลักหรือCONCEPT ของเรื่องก่อนถ้าเรื่องที่จะทำไม่มีแนวคิดหลักของเรื่อง ต้องเขียนขึ้นมาจากนิยาย เราจะต้องเอาแนวคิดนั้นมาทำเป็นเรื่องย่อ เพราะนิยายบางเรื่องยาวมาก จะทำเป็นภาพยนตร์ 2 ชม.นั่นไม่ได้จะต้องตัดทอน
      n      TREATMENT  คือ การเขียนอธิบายความสั้นๆ ว่าภาพยนตร์ที่จะผลิตขึ้นนั้นมีลักษณะกี่ประเภทอย่างไร ความยาวเท่าไร   กลุ่มเป้าหมายคือใคร มีเนื้อหาอย่างไร และมีการตีความเนื้อหาออกมาเป็นภาพพิเศษอย่างไร
      n      ในรายละเอียดของภาพยนตร์บันเทิงนั้น จะเอา TREATMENT ไปขยายเป็น SCREEN PLAY หรือ บทแสดง เพราะฉะนั้นภาพยนตร์บันเทิงจะมีลักษณะของบทเป็นแบบ คอลัมม์เดียว คือ มีส่วนนำ บอกเวลา บอกฉากมีส่วนภาพ และก็มีบทพูด ซึ่งเป็นบทที่ผู้แสดงจะต้องเอาไปท่อง ผู้ที่ทำฉากก็เตรียมจัดฉากหาสถานที่ สรุปได้ว่า SCREEN PLAY จะเป็นบทที่ใช้เตรียมงานได้ทั้งหมด
      n      จากบทเสดงนั้น  ฝ่ายทีมงานช่างภาพก็จะเอา SHOOTING SCRIPT เป็นการกำหนดหน้าที่ให้ช่องกล้องจะทำงานอย่างไรบ้าง
      โดยทั่วไปแล้วบทภาพยนตร์จะมี 2 ประเภท คือ
      n      1.THE VOICE SCRIPT บทภาพยนตร์สารคดี
      n      2.THE MASTER SCRENE DIALOG SCRIPT คือ บทภาพยนตร์ บันเทิง
      บทจะมีองค์ประกอบที่สำคัญอยู่ด้วยกัน 3 ส่วน คือ
      n      1.ส่วนนำ บอกสถานที่ และเวลาอยู่ตรงส่วนบนสุด
      n      2.เลขลำดับ SHOT
      n      3.ส่วนภาพและเสียง   ประกอบด้วย คำอธิบาย การกำหนดมุมกล้อง ขนาดภาพและการเคลื่อนไหวกล้อง
      n      ส่วนเสียง   ประกอบด้วย เสียงพูด เสียงบรรยาย เสียงดนตรี และเสียงประกอบ ซึ่งคำบรรยายจะสอดคล้องกับส่วนที่เป็นภาพ
      n      ส่วนภาพ    หลักการเขียนบทให้ได้ดีควรที่จะคิดออกมาเป็นภาพ แล้วดูว่าภาพนั้นต้องการเสียงอะไรก็ค่อยใส่เข้าไป
      ภาษาภาพยนตร์มี 3 ระดับ
      n      1.ระดับที่เป็นภาพ เช่น ดอกกุหลาบ
      n      2.ระดับความหมาย เช่น หนุ่มคนหนึ่งเอากุหลาบจาก SHOT แรกไปให้หญิงสาว
      n      3.ระดับสัญลักษณ์ เช่น หญิงสาวทิ้งกุหลาบเมื่อเลิกกับชายหนุ่ม   กุหลาบที่ทิ้งเป็นสัญลักษณ์ว่าเลิกแล้ว ภาษาภาพยนตร์เกิดขึ้นได้โดยการใช้กล้อง การควบคุมกล้องให้ทำงาน
      การใช้กล้องเป็นเครื่องมือในการสื่อสารจะใช้อยู่ 3 ลักษณะ
      n      1.ใช้เล่าเรื่อง บอกว่ามีอะไรเกิดขึ้นบ้าง ครอบคลุม ACTION กล้องจะเห็นภาพโดยรวม
      n      2.เน้นความสำคัญหรือสร้างจุดเด่น   กล้องต้องเข้าไปทำงานหรือใกล้กับสิ่งที่จะถูกถ่าย
      n      3.สร้างอารมณ์และบรรยากาศเป็น   ต้องมีการกำหนดมุมกล้อง มุมกล้องนอกจากจะบอกตำแหน่งที่ถูกถ่ายมีผลในเชิงจิตวิทยาด้วย เมื่อต้องการให้ภาษาภาพยนตร์บ่งบอกถึงสิ่งเหล่านี้แล้วก็คือการควบคุมกล้องให้มีขนาดภาพและมุมกล้องต่างๆ รวมถึงการเคลื่อนไหวของกล้องด้วย
      มุมกล้องมี 3 ระดับ
      n      1.ระดับสายตา มองสิ่งนั้นในลักษณะปกติ วัดโดยประเมินจากความสูงของคนทั่วไป
      n      2.ระดับสายตาต่ำ ถ้าสิ่งที่เราถ่ายอยู่ต่ำกว่ากันจะเรียกว่าระดับสายาตาต่ำ
      n      3.มุมสูง ถ้าตั้งกล้องต่ำ สิ่งที่เราถ่ายจะมีลักษณะสูงใหญ่สง่า ระวังเวลาถ่ายคนถ้าคนตัวอ้วนใหญ่มากๆ แต่เป็นผู้บริหารขององค์กร แล้วใช้มุมกล้องต่ำเพื่อให้เห็นว่าสง่างาม ผลคือ จะน่าเกลียด ต้องเลือกว่าต่ำหรือสูงแค่ไหน จึงจะเหมาะสม
       มุมตานกหรือเหนือหัว ลักษณะทางกราฟิก
      คำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการใช้กล้องถ่ายภาพโทรทัศน์
      n      คำสั่งเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวกล้อง (CAMERA MOVVEMENT)
      n      การเคลื่อนไหวกล้องไปในแนวทางที่ขนานกันกับพื้นราบทั้งซ้าย-ขวา เรียกว่าการ PAN มีทั้ง PAN LEFT และ PAN RIGHT
      n      การเคลื่อนไหวกล้องในแนวดิ่งทั้งก้มและเงยกล้อง เรียกว่า TILT มีทั้งการ TILT UP และ TILT DOWN
      n      การยกกล้องขึ้นในแนวตั้ง เรียกว่า PEDESTAL โดยที่ตัวกล้องตั้งอยู่บนขาตั้งกล้อง (TRIPOD)
      n      การเคลื่อนกล้องในแนวทแยงมุม เรียกว่า   TRUCK มีทั้งเคลื่อนไปทางซ้ายและขวา คือ TRUCK LEFT ,TRUCK RIGHT
      การเคลื่อนกล้องในแนวครึ่งวงกลม เรียกว่า ARC LEFT และ ARC RIGHT
      n      การเคลื่อนไหวกล้องในแนวสูง ซึ่งตัวกล้องอาจอยู่บน CRANE
      n      การผสมผสานการเคลื่อนไหวกล้องโดยการผสมกัน เรียกว่า COMBINATION
      ลักษณะของการถ่ายทำ (CAMERA SHOT)
      n      EXTREME CLOSE-UP (ECU) การจับวัตถุในลักษณะใกล้ชิดอย่างมากต้องการเน้นรายละเอียด
      n      CDLOSE-UP (CU) ภาพหรือวัตถุที่อยู่ใกล้
      n      MEDDIUM CLOSE-UP (MCU) ภาพขนาดประมาณหน้าอกของบุคคล
      n      MEDIUM SHOT (MS)ภาพลักษณะครึ่งลำตัว หรือประมาณหัวเข่า
      n      LONG SHOT (LS) ภาพเห็นเต็มตัวทั้งหมด
      n      EXTREAME LONG SHOT (ELS) ภาพในลักษณะกว้างไกล
      ลักษณะมุมของกล้อง (CAMERA ANGIE)
      n      มุมในระดับปกติคือระดับสายตา NORMAL ANGLE
      n      มุมสูงกว่าระดับสายตา HIGH   CAMERA ANGLE
      n      มุมต่ำกว่าระดับสายตา low CAMERA ANGLE
      n      มุมในแนวเฉียงหรือในแนวทแยง CANTED ANGLE
      n      มุมที่ติดกับตัววัตถุที่เคลื่อนไหว SUBJECTIVE CAMERA ANGLE
      n      มุมที่เคลื่อนไหวติดตามวัตถุที่ถ่านให้อยู่ในกรอบภาพโดยตลอด FRAMING MOVMENT
      ลักษณะของการเคลื่อนที่ในการเชื่อมภาพ (TRANSITION)
      n      การตัดเปลี่ยนภาพโดยฉับพลัน เรียกว่า  CUT
      n      การเลื่อนภาพจากภาพไปหาสัญญาณเทปโทรทัศน์ หรือ จากสัญญาณเทปโทรทัศน์มาหาภาพ เรียกว่า การเฟดภาพ (Fade)
      n      การเลื่อนภาพจากภาพหนึ่งไปสู่อีกภาพหนึ่ง เรียกว่า DISSOLVE หรือ MIX
      n      การกวาดเปลี่ยนภาพโดยใช้ PATTERN ต่างๆ กัน เรียกว่า WIPE
      n      การทำเทคนิคของภาพ เช่น การซูม การพลิกภาพ บีบภาพ เรียกว่า DVE (DIGITAL VIDEO EFFECT)
      n      ช่วงเวลาของการผสมผสานภาพ 1-2 วินาที จัดอยู่ในระดับที่เร็ว (FAST ) ถ้าเป็น 3-5 วินาที จัดอยู่ในระดับความเร็วที่ช้า(SLOW)

      ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

      loading
      กำลังโหลด...

      ความคิดเห็น

      ×